ในยุคปัจจุบัน ไม่มีประเทศไหนที่ไม่มีสวัสดิการสำหรับคนจนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง แต่ส่วนใหญ่แล้วระบบสวัสดิการที่พบในหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทย มีลักษณะที่ไม่ครอบคลุม แยกส่วน และไม่เพียงพอที่จะแก้ไขปัญหาความยากจนได้
รัฐสวัสดิการ (Welfare State) เป็นระบบสวัสดิการรูปแบบที่พัฒนาไปถึงระดับสูงสุดสำหรับระบบทุนนิยม และถูกสร้างขึ้นภายใต้แนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย (Social Democrat) รัฐสวัสดิการมีลักษณะพิเศษคือ
(ก) เป็นระบบครบวงจรที่ดูแลพลเมือง “จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน” เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิต
(ข) เป็นสวัสดิการถ้วนหน้า คือพลเมืองทุกคนมีสิทธิ์ที่จะได้รับ ไม่เจาะจงว่าต้องเป็นคนจนสุดเท่านั้น พลเมืองจึงไม่ต้องเสียศักดิ์ศรีในการพิสูจน์ความจน
(ค) เป็นระบบสวัสดิการเดียวสำหรับพลเมืองทุกคนที่อาศัยรัฐเป็นผู้บริหาร ไม่ใช่ว่ามีหลายระบบซ้ำซ้อนกัน อย่างที่เรามีในประเทศไทย
(ฆ) เป็นระบบสวัสดิการที่อาศัยงบประมาณจากการเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า คือคนรวยจ่ายมาก คนจนจ่ายน้อย
เชิญอ่านบทความเต็มว่าทำไมประเทศไทยควรเป็นรัฐสวัสดิการ และรัฐสวัสดิการคืออะไรได้ที่นี่ บทความวิชาการของ ใจ อึ๊งภากรณ์
ที่มา redthaisocialist
รัฐสวัสดิการ (Welfare State) เป็นระบบสวัสดิการรูปแบบที่พัฒนาไปถึงระดับสูงสุดสำหรับระบบทุนนิยม และถูกสร้างขึ้นภายใต้แนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย (Social Democrat) รัฐสวัสดิการมีลักษณะพิเศษคือ
(ก) เป็นระบบครบวงจรที่ดูแลพลเมือง “จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน” เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิต
(ข) เป็นสวัสดิการถ้วนหน้า คือพลเมืองทุกคนมีสิทธิ์ที่จะได้รับ ไม่เจาะจงว่าต้องเป็นคนจนสุดเท่านั้น พลเมืองจึงไม่ต้องเสียศักดิ์ศรีในการพิสูจน์ความจน
(ค) เป็นระบบสวัสดิการเดียวสำหรับพลเมืองทุกคนที่อาศัยรัฐเป็นผู้บริหาร ไม่ใช่ว่ามีหลายระบบซ้ำซ้อนกัน อย่างที่เรามีในประเทศไทย
(ฆ) เป็นระบบสวัสดิการที่อาศัยงบประมาณจากการเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า คือคนรวยจ่ายมาก คนจนจ่ายน้อย
เชิญอ่านบทความเต็มว่าทำไมประเทศไทยควรเป็นรัฐสวัสดิการ และรัฐสวัสดิการคืออะไรได้ที่นี่ บทความวิชาการของ ใจ อึ๊งภากรณ์
ที่มา redthaisocialist
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น